ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
๑. ข้อมูลทั่วไปของ ตำบล/ชุมชน
ประวัติความเป็นมา
การสร้างบ้านแปลงเมืองของท้าวชัยปัญญา ท้าวชัยปัญญา ท่านเป็นผู้นำในการก่อตั้งหมู่บ้าน “บ้านค้อ ”ท่านชัยปัญญา ท่านเป็นนักรบ เป็นชาวเมืองบก เมืองวังอ่างคำ ปัจจุบันถูกเปลี่ยนชื่อเมืองว่าเมืองที่มีความอุดมสมบูรณ์มาก มีแม่น้ำสองสายไหลผ่านคือเซบังเหียง เซก๊อก มีแหล่งและทรัพยากรธรรมชาติ ที่สำคัญมากมาย เช่น ผาซ่อนหน่อคำ ไม้ล่มแบ่งแดนแกวและมีแร่ทองคำมากกับชื่อเมืองเป็นเมืองชายแดนของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวพรมแดนติดต่อกับประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามอยู่ในเขตการปกครองของแขวง สะหวันนะเขต ท่านรวบรวมประชากรชนเผ่าได้จำนวน ๑๘ ครอบครัวอพยพหนีสงครามฮ้อ ชาวฮ้อคือชาวจีนซึ่งได้ยึดครองประเทศญวนเป็นเมืองขึ้นมาแล้วนับพันปี และต้องขยายอาณาเขตการยึดครองเข้ามายังประเทศลาวที่เป็นเมืองขึ้นของไทยโยการรุกราน เผาบ้าน เผาเมืองเข่นฆ่าราษฎรล้มตายด้วยความทารุณโหดร้ายเป็นอย่างมาก ท่านจึงตัดสินใจนำราษฎรอพยพหนีศึกข้ามแม่น้ำโขงมายังประเทศไทยอพยพมาถึงโนนป่าต้นค้อ เดิมเป็นถิ่นที่อยู่ของขอม ชาวขอมเป็นชนเผ่าหนึ่งที่เคยเรืองอำนาจมากในภูมิภาคแถบนี้ เช่น ลาว ไทย เขมร โดยเฉพาะปราสาทหินทั้งหลายที่มีอยู่ในแถบภูมิภาคนี้ล้วนแต่เป็นฝีมือ การก่อสร้างของชาวขอมทั้งสิ้น ชนเผ่าขอม หรือชาวขอม มีนักวิชากร นักประวัติศาสตร์ไทยได้สันนิษฐานไว้ไม่เหมือนกัน กล่าวคือ กลุ่มที่ ๒ได้กล่าวสันนิษฐานไว้ว่าขอมกับเขมรเป็นเผ่าพันธุ์เดียวกัน กลุ่มที่ ๒ ได้กล่าวสันนิษฐานไว้ว่าขอมได้ทำสงครามกับเขมรและถูกเขมรเข้าตีเมืองรบชนะอาณาจักรขอมจึงล่มสลายไป มีหนองน้ำขนาดใหญ่คือ หนองเดิด มีลำห้วย ๒ สายไหลผ่านคือห้วยใหญ่ ห้วยอีต่าง เป็นพื้นที่ทำเลที่อุดมสมบูรณ์มากเหมาะแก่การก่อตั้งหมู่บ้านและการประกอบอาชีพจึงได้พร้อมใจกันก่อสร้างหมู่บ้านขึ้นตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านค้อ” ในละแวกบริเวณดังกล่าวนี้มีหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ก่อนแล้วคือ บ้านหัวขัว ( คนหาญ ) บ้านหนองสระพังทอง( สุวรรณมงคล ) ซึ่งก็ได้ประชากรเผ่าจาก ๒ หมู่บ้านนี้อีก ๑๒ ครอบครัวแยกตัวออกมาหมู่บ้านเดิมมาสมทบรวมกันเป็น ๓๐ ครอบครัวโดยยึดพื้นที่บริเวณดังกล่าวนี้อยู่อาศัยและการประกอบอาชีพแต่อาศัยอยู่ได้ไม่นานก็มีข่าวว่าทหารฮ้อตามมา ท่านจึงนำราษฎรหนีภัยอีกครั้ง คราวนี้อพยพหนีขึ้นไป ไปอยู่บนภูเขาบริเวณโนนริมห้วยตาเปอะหรือที่เรียกกันในปัจจุบันว่า โนนบ้านฮ้างซึ่งอยู่คนละฟากฝั่งกับวัดบ้านตาเปอะ เมื่อท่านนำราฏรอพยพลงมาจากภูเขาและก่อตั้งหมู่บ้านขึ้นใหม่ที่บริเวณวังเดือนห้าซึ่งอยู่กันอย่างมีความร่มเย็นเป็นสุข นานหลายปีก็เกิดเหตุการณ์ร้ายขึ้นอีกทำให้ราษฎรเจ็บป่วยล้มตายและไดนำพาราษฎรก่อสร้างวัดศาสนาพุทธขึ้นในสวนของท่านเองและจากที่เหลือจากการก่อสร้างบ้านเรือนและพร้อมใจกันตั้งชื่อวัด “วัดชัยภูมิ “เดิมตำบลบ้านค้อ อยู่ในเขตการปกครอง กิ่งอำเภอคำชะอี จังหวัดนครพนม มีหมู่บ้านในเขตการปกครองดังนี้ คือ บ้านค้อ บ้านดงยาง บ้านโคก บ้านตูมหวาน บ้านดอนป่าแคนบ้านโพนงาม บ้านหนองสระพังทอง บ้านแฝกและบ้านแข้ ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ทางราชการมีคำสั่งให้แยก ตำบลบ้านค้อ ออกเป็นอีก ๒ ตำบลคือ ตำบลโพนงาม จึงเหลือหมู่บ้านอยู่ในเขตการปกครอง ตำบลบ้านค้อ จำนวน ๔ บ้าน ๖ หมู่คือบ้านโคก หมู่ที่ ๑ บ้านค้อ หมู่ที่ ๒ , ๓ บ้านดงยาง หมู่ที่ ๔ และบ้านแข้หมู่ที่ ๕ ,๖ ซึ่งทางราชก็ได้ทำการแบ่งแยกหมู่บ้านเพิ่มเติม ให้อีกหลายครั้ง จนถึงปัจจุบันปี พ.ศ. ๒๕๕๕ รวมเป็น ๑๑ หมู่บ้าน
ลักษณะทั่วไปและที่ตั้งอาณาเขต
ตำบลบ้านค้อ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของจังหวัดมุกดาหาร และตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอำเภอคำชะอี อยู่ห่างจากตัวอำเภอคำชะอีประมาณ ๑๒ กิโลเมตร อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ ๓๔
กิโลเมตร มีเส้นทางคมนาคมที่สำคัญ คือ ทางหลวงชนบท หมายเลข ๒๒๐๒ ( หนองเอี่ยน- บ้านเหล่า) มีเนื้อที่ประมาณ ๘๗,๕๘๒ ไร่หรือ ๑๔๐.๒ ตารางกิโลเมตร มีทั้งหมด ๑๑ หมู่บ้าน และมีอาณาเขตติดต่อกับบริเวณใกล้เคียง ดังนี้
๑. ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตตำบลโพนงาม อำเภอคำชะอี
๒.ทิศใต้ ติดต่อกับเขตตำบลบ้านเหล่า อำเภอคำชะอี
๓. ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตตำบลหนองเอี่ยน อำเภอคำชะอี
๔. ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตตำบลบ้านเหล่า / ตำบลกกตูม อำเภอดงหลวง
ลักษณะภูมิประเทศ
ตำบลบ้านค้อ มีสภาพภูมิประเทศทั่วไปเป็น ๒ ลักษณะคือ พื้นที่หุบเขาและพื้นที่ราบลุ่มลักษณะพื้นที่บนหุบเขามี ๓ หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ ๘ บ้านตาเปอะ หมู่ที่ ๙ บ้านโนนสมบูรณ์ หมู่ที่๑๐ บ้านด่าช้าง ตั้งอยู่ระหว่างกลางหุบเขา สภาพพื้นที่เหมาะแก่การทำสวน ทำไร่ ปลูกพืชเลี้ยงสัตว์ มีห้วยเลาไหลผ่านมีธรรมชาติที่สวยงาม และมีแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น น้ำตกห้วยเลา น้ำตกตาดโตน และธรรมชาติในป่าที่เขียวขจี และส่วนลักษณะที่เป็นพื้นราบมี ๘ หมู่บ้านคือ หมู่ที่ ๑ บ้านโคก หมู่ที่ ๒ , ๓ บ้านค้อ หมู่ที่ ๔ , ๗ บ้านดงยาง และหมู่ที่ ๕,๖ บ้านแข้ ลักษณะพื้นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การทำนา มีลำห้วยไหลผ่านหลายสาย เช่น ห้วยแข้ ห้วยกกบก ราษฎรอาศัยน้ำจากลำห้วยทำการเกษตร และประกอบอาชีพการเพาะปลูกต่างๆ เช่น การปลูกข้าวโพด ปลูกมะเขือเทศ พืชผักสวนครัว หลังฤดูการเก็บเกี่ยวเป็นอาชีพเสริมจำนวนประชากรประชากรใน พ.ศ. ๒๕๕๗ตำบลบ้านค้อ มีประชากรทั้งสิ้น ๗,๒๗๗คน เป็นชาย ๓,๗๐๙คน เป็นหญิง ๓,๕๖๘ คน มีจำนวน ๒,๑๘๐ ครัวเรือน เป็นประชากรแต่ล่ะหมู่บ้านและครัวเรือน ดังนี้
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
ชาย |
หญิง |
รวม |
ครัวเรือน |
๑ |
บ้านโคก |
๕๔๐ |
๕๑๕ |
๑,๐๖๔ |
๒๖๑ |
๒ |
บ้านค้อ |
๒๐๕ |
๒๓๔ |
๔๓๙ |
๑๓๘ |
๓ |
บ้านค้อ |
๓๗๓ |
๓๓๗ |
๗๑๐ |
๑๘๓ |
๔ |
บ้านดงยาง |
๓๔๗ |
๓๑๑ |
๖๕๘ |
๑๖๙ |
๕ |
บ้านแข้ |
๒๖๕ |
๒๗๙ |
๕๔๔ |
๑๖๖ |
๖ |
บ้านแข้ |
๑๙๔ |
๑๙๘ |
๓๙๒ |
๑๑๔ |
๗ |
บ้านดงยาง |
๒๔๐ |
๒๓๙ |
๔๗๖ |
๑๑๙ |
๘ |
บ้านตาเปอะ |
๓๒๐ |
๒๙๐ |
๖๑๐ |
๒๒๕ |
๙ |
บ้านโนนสมบูรณ์ |
๔๘๐ |
๔๕๖ |
๙๓๖ |
๓๒๕ |
๑๐ |
บ้านด่านช้าง |
๔๕๓ |
๔๑๖ |
๘๖๙ |
๓๐๙ |
๑๑ |
บ้านค้อ |
๒๘๓ |
๒๖๙ |
๕๗๙ |
๑๗๑ |
|
รวม |
๓,๗๐๙ |
๓,๕๖๘ |
๗,๒๗๗ |
๒,๑๘๐ |
ศาสนสถาน
ที่ |
ประเภท |
ชื่อ ศาสนสถาน |
ชื่อเจ้าอาวาส / สำนักสงฆ์ |
|
วัด |
สำนักสงฆ์ |
|||
๑ |
/ |
|
วัดแจ้ง |
พระครูโอภาสนวกิจ |
๒ |
/ |
|
วัดชัยภูมิ |
พระปัญญา วิสารโท |
๓ |
/ |
|
วัดภูเขาวงค์ |
พระอธิการแสงสุพันธ์โชติปญฺโญ |
๔ |
/ |
|
วัดชัยเสกมงคล |
พระอธิการบุญครอง ขนฺติพโร |
๕ |
|
/ |
สำนักสงฆ์วัดป่าบ้านแข้ |
หลวงตาใหม่ สุขรี่ |
๖ |
|
/ |
ที่พักสงฆ์ห้วยตาเปอะ |
พระปัญญา ขันติธมฺโม |
๗ |
|
/ |
ที่พักสงฆ์บ้านโนนสมบูรณ์ |
พระคม กนฺตสีโร |
อาณาเขต
ทิศเหนือ จรด ตำบลโพนงาม อำเภอคำชะอี
ทิศตะวันออก จรด ตำบลหนองเอี่ยน อำเภอคำชะอี
ทิศใต้ จรด ตำบลบ้านเหล่า อำเภอคำชะอี
ทิศตะวันตก จรด ตำบลบ้านเหล่า อำเภอคำชะอี ตำบลกกตูม อำเภอดงหลวง
ลักษณะภูมิประเทศ
มีพื้นที่ทั้งหมด ๘๗,๕๘๑ ไร่ หรือ ๑๔๐.๑๒ ตารางกิโลเมตร
พื้นที่ ทำการเกษตร ไร่ร้อยละ ๙๐
พื้นที่ ทำการเลี้ยงสัตว์ ไร ร้อยละ ๑๐
การปกครองส่วนท้องถิ่น
เป็นองค์การบริหารส่วนตำบล / เทศบาลตำบล
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลชื่อ นายจีระศักดิ์ คนกล้า
รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลชื่อ นายบุญเกิด คนหาญ
รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลชื่อ นาย มานพ พันโกฏิ
เลขานุการองค์การบริการส่วนตำบลชื่อนายบุญตา พุทธจักร์
สภาพทางเศรษฐกิจ
๒. อาชีพ
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตรกรรม ประมาณร้อยละ ๙๐
๒.๑ อาชีพหลัก ทำนา ทำไร่ ทำสวน
๒.๒ อาชีพรอง เลี้ยงวัว จักสาน ทอผ้าฝ้าย ฝ้าไหม ทอเสื่อกก ปลูกยางพารา ปลูกพืชระยะสั้นได้แก่ปลูก มะเขือเทศ ปลูกข้าวโพด ปลูกมันสำปะหลัง ปลูกอ้อย ค้าขาย และรับจ้างทั่วไป
๒.๓ ด้านปศุสัตว์ เลี้ยงโค กระบือ ไก่ เป็ด หมู ปลา เพื่อจำหน่ายและไว้เป็นอาหาร
๒.๔ ด้านอุตสาหกรรม มีการประกอบอาชีพอุตสาหกรรมขนาดย่อยๆ ร้านซ่อมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ โรงสี อื่นๆ
๒.๕ ด้านการพาณิชย์ มีร้านสหกรณ์ ร้านสาธิตการตลาด กลุ่มกองทุนสงเคราะห์ประจำหมู่บ้าน
๒.๖ ด้านรายได้ ประชากรมีรายได้เฉลี่ย ๓๙,๐๘๑บาท/ คน /ปี
๑.๑ โรงเรียนบ้านค้อ
ครู จำนวน ๑๐ คน ชาย ๔ คน หญิง ๖ คน
นักเรียนระดับอนุบาล จำนวน ๒๙ คน
นักเรียนระดับประถม จำนวน ๙๙ คน
นักการภารโรง จำนวน ๑ คน
๑.๒โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๑๑ บ้านค้อ
ครูจำนวน ๑o คน ชาย ๖ คน หญิง ๔ คน
นักเรียนระดับอนุบาล จำนวน ๙ คน
นักเรียนประถมศึกษาปีที่ จำนวน ๕๕ คน
นักการภารโรง จำนวน ๑ คน
๑.๓โรงเรียนบ้านโคก ๑
ครูจำนวน ๘ คน ชาย๔ คน หญิง ๔ คน
นักเรียนระดับอนุบาล จำนวน ๒๘ คน
นักเรียน ประถมศึกษาจำนวน ๘๐ คน
นักการภารโรง จำนวน ๑ คน
๑.๔ โรงเรียนบ้านดงยาง ๑
ครู จำนวน ๖ คน ชาย ๓ คน ๓ หญิง
นักเรียนระดับอนุบาล จำนวน ๘ คน
นักเรียนระดับอนุบาล จำนวน ๘ คน
นักเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน ๗๔ คน
นักการภารโรง ๑ คน
๑.๕ โรงเรียนบ้านห้วยตาเปอะ เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา
ครูจำนวน ๑๐ คน ชาย ๔ คน หญิง ๖ คน
นักเรียนระดับอนุบาล จำนวน ๕๙ คน
นักเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน ๑๔๗ คน
นักเรียนระดับมัธยมศึกษา จำนวน ๗๙ คน
นักการภารโรง จำนวน ๑ คน
๑. ๖ โรงเรียนชัยปัญญาวิทยานุสรณ์
ครู จำนวน ๒๖ คน ชาย ๑๔ คน หญิง ๑๒ คน
นักเรียนระดับมัธยมศึกษา จำนวน ๕๐๐ คน ชาย ๒๔๒ คน หญิง ๒๕๘ คน
นักการภารโรง จำนวน ๓ คน
๒. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านค้อ มี จำนวน ๖ แห่ง แยกเป็น
๒.๑ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ( กรมศาสนา )
๒.๒.๑ ศูนย์อบรมเด็กเล็กวัดภูเขาวงค์ ( บ้านดงยาง )
ครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน ๓ คน ชาย - คน หญิง ๓ คน
นักเรียนจำนวน ๕๐ คน
๒.๒.๒ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดชัยเสกมงคล ( บ้านโคก ๒ )
๒.๒.๓ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดชัยเสกมงคล ( บ้านโคก ๒ )
ครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน ๒ คน หญิง ๒ คน
นักเรียน จำนวน ๕ ๐ คน
๒.๓ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ( กรมพัฒนาชุมชน )
๒.๓.๑ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านค้อ
ครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน ๓ คน หญิง ๓ คน
นักเรียน จำนวน ๕๒ คน
๒.๓.๒ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแข้
ครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน ๒ คน หญิง ๒ คน
นักเรียน จำนวน ๓๘ คน
๒.๓.๓ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาเปอะ
ครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน ๑ คน หญิง ๑ คน
นักเรียน จำนวน ๒๔ คน
๒.๓.๔ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนสมบูรณ์
ครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน ๒ คน หญิง ๒ คน
นักเรียน จำนวน ๓๖ คน
๓. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ( องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านค้อ )
๓.๓.๑ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านช้าง
ครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน ๑ คน หญิง ๑ คน
นักเรียน จำนวน ๒๗ คน
๔. กศน.ตำบลบ้านค้อ จำนวน ๑ แห่ง
๕. ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านตาเปอะ จำนวน ๑ แห่ง
๖. ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน จำนวน ๑๑ แห่ง
๗. ที่อ่านหนังสือบ้านอัจฉริยะ ๕ แห่ง
๘. ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีประจำตำบลจำนวน ๑ แห่ง
๙ ศูนย์ฝึกอาชีพระดับตำบล จำนวน ๑ แห่ง
๑๐ ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน จำนวน ๑๑ แห่ง
ด้านสาธารณสุข
๑ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล/หมู่บ้าน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านค้อ จำนวน ๑ แห่ง
สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติบ้านห้วยตาเปอะจำนวน ๑ แห่ง
อาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน จำนวน ๑๑ แห่ง
๑. อัตราการมีส้วมราดน้ำ ร้อยละ ๑๐๐
การคมนาคม
ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านค้อ มีถนนทางในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านค้อ มีถนนทางหลวงชนบทติดต่อระหว่างหมู่บ้านทุกหมู่บ้านเป็นถนนสามารถเดินทางติดต่อกับอำเภออื่นๆ และจังหวัด แต่ยังมีความลำบากในเรื่อง ผิวจราจรและเส้นทางคมนาคม
ระยะทางจากศูนย์กลางตำบลบ้านค้อ ถึงอำเภอคำชะอียาว ๑๒ กิโลเมตร
ระยะทางจากศูนย์กลางตำบลบ้านค้อ ถึง จังหวัดมุกดาหาร ยาว ๓๔ กิโลเมตร
๒.อาชีพทางการเกษตร ตำบลบ้านค้อ มีพื้นที่เกษตรทั้งสิ้น ๘,๐๕๔ ไร่ ครอบครัวการเกษตร ๒,๐๒๕ ครอบครัว
กลุ่มอาชีพ หรือสถานประกอบการ
ที่ |
ชื่อกลุ่ม |
สมาชิก(คน) |
ที่ตั้ง |
ชื่อประธานกลุ่ม |
๑ |
อาชีพ การทอผ้าพื้นเมือง |
๒๑ |
ม. ๓ บ้านค้อ |
นางเลิ้ง คนหาญ |
๒ |
อาชีพการทอเสื่อกก |
๒๐ |
ม. ๕ บ้านแข้ |
นางวาสนา คล่องดี |
๓ |
อาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า |
๒๐ |
ม. ๑ บ้านโคก |
นายทองสี อาจหาญ |
การส่งเสริมการท่องเที่ยว
แหล่งธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ในพื้นที่ตำบลบ้านค้อมีแหล่งธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีสถานที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวกำลังดำเนินการพัฒนาและปรับปรุงให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวของตำบลบ้านค้อ คือ น้ำตกแก่งบอน ซึ่งอยู่ในพื้นที่ของบ้านด่านช้าง หมู่ที่ ๑๐ ตำบลบ้านค้อ อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร และมีแหล่งธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ของป่าไม้ เป็นแหล่งน่าเรียนรู้ในการศึกษาระบบนิเวศน์ของป่าไม้ตั้งอยู่ในเทือกเขาภูผาซานมีน้ำตกหลายสายไหลผ่าน และมีทั้งสัตว์ป่านานาชนิด พื้นที่ตรงนี้เป็นน้ำตกหลายสายไหลผ่าน และมีทั้งสัตว์ป่านานาชนิด พื้นที่ตรงนี้เป็นแหล่งอนุรักษ์ป่าไม้ และสัตว์ป่า เหมาะแก่การนักท่องเที่ยวที่จะได้ชมวิว ทัศนียภาพที่สวยงามตามธรรมชาติ สำหรับแหล่งท่องเที่ยวและแหล่งพักผ่อนหย่อนใจในพื้นที่ ตำบลบ้านค้อ มีดังนี้
๑. น้ำตกแก่งบอน
ทิวทัศน์ธรรมชาติอยู่บริเวณบนเขาภูผาซานในพื้นที่บนภูเขา บ้านตาเปอะ,บ้านโนนสมบูรณ์,
บ้านด่านช้าง ซึ่งเป็นบริเวณที่ราษฎรใช้ปลูกยางพารา เป็นอีกบทิวทัศน์ธรรมชาติอยู่บริเวณบนเขาภูผาซานในพื้นที่บนภูเขา บ้านตาเปอะ,บ้านโนนสมบูรณ์ บ้านด่านช้าง ซึ่งเป็นบริเวณที่ราษฎรใช้ปลูกยางพารา เป็นอีกบริเวณหนึ่งที่มีทิวทัศน์ที่สวยงามบริเวณหนึ่งที่มีทิวทัศน์ที่สวยงาม
สถานที่พักผ่อนหย่อนใจหนองผือต้อนอยู่บริเวณบ้านแข้หมู่ ๕ เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ เช้า-เย็น เหมาะในการวิ่งออกกำลังกายหรือจะพาครอบครัวมานั่งเล่นชมทิวทัศน์ที่มีต้นไม้ล้อมรอบ ทำให้บรรยากาศร่มรื่นอากาศเย็นสบาย หนองน้ำมีน้ำตลอดปี ฤดูทำนาจะล้อมรอบด้วยท้องนาที่เป็นสีสถานที่พักผ่อนหย่อยใจหนองแสง ตั้งอยู่บริเวณทางเข้าบ้านดงยาง หมู่ ๔ เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจที่มีต้นไม้ล้อมรอบ บรรยากาศร่มรื่น อากาศเย็นสบายเหมาะแสถานที่พักผ่อนหย่อนใจหนองสาธารณะบ้านโคก ตั้งอยู่บริเวณทางขึ้นภูเขา
บ้านโคกหมู่ ๒ เป็นจุดชมวิวที่สวยงามมีป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ มีบรรยากาศร่มรื่น เหมาะแก่การพักผ่อนหย่อนใจครอบครัวมาพักผ่อนหย่อนใจสถานที่พักผ่อนหย่อนใจหนองสาธารณะบ้านโคก ตั้งอยู่บริเวณทางขึ้นภูเขาบ้านโคกหมู่ ๒ เป็นจุดชมวิวที่สวยงามมีป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ มีบรรยากาศร่มรื่น เหมาะแก่การพักผ่อนหย่อนใจ
การศึกษาจำนวนสถานศึกษา
ที่ |
ชื่อ |
จำนวนนักเรียน/นศ. |
จำนวนครู |
ผู้บริหารสถานศึกษา |
๑ |
.กศน.ตำบลบ้านค้อ ศรช.ห้วยตาเปอะ |
๑๗๒ |
๓ |
นายวิชาญชัย แสบงบาล(ผอ.กศน.คำชะอี) |
๒ |
โรงเรียนบ้านค้อ |
๑๒๘ |
๑๐ |
นายบุญทอม ทอมสุพรรณ |
๓ |
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๑๑(บ้านแข้) |
๖๔ |
๑๐ |
นายบุญชอบ อุบสาย |
๔ |
โรงเรียนบ้านโคก ๒ |
๑๐๘ |
๘ |
นายเชิญสิน ไชยเพ็ชร |
๕ |
โรงเรียนบ้านดงยาง ๑ |
๘๒ |
๖ |
ว่าที่พันตรีวิษุวัติ วิมลเศษ |
๖ |
โรงเรียนบ้านห้วยตาเปอะ(ขยายโอกาส) |
๒๘๕ |
๑๐ |
นายมนตรี จันทร์วงค์ |
๗ |
โรงเรียนชัยปัญญาวิทยานุสรณ์ |
๕๐๐ |
๒๘ |
นายโชคชัยพัฒน์ อุ่นเมือง |
๘ |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดภูเขาวงค์ (บ้านดงยาง) |
๕๐ |
๓ |
นางกนกรัตน์ อุทาวงค์ |
๙ |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดชัยเสกมงคล(บ้านโคก |
๔๕ |
๒ |
นางอ่อนศรี พลวงค์ |
๑๐ |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านค้อ |
๕๒ |
๓ |
นางชลธิชา ผ่องแผ้ว |
๑๑ |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแข้ |
๓๘ |
๒ |
นางเมตตา พันโกฏิ |
๑๒ |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาเปอะ |
๒๔ |
๑ |
นางอรอนงค์ รัตนวงค์ |
๑๓ |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนสมบูรณ์ |
๓๖ |
๒ |
นางทิพย์ประกาฬ คนคล่อง |
๑๔ |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านด่านช้าง |
๒๗ |
๑ |
นางบรรจง กองอ่อน |
การศาสนา
- ประชากรนับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ ๑๐๐
- นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ ๑๐๐
๒.ข้อมูลทั่วไปของ กศน.ตำบลบ้านค้อ
ประวัติของ กศน.ตำบลบ้านค้อ
กศน.ตำบลบ้านค้อ ตั้งอยู่ที่ องค์การบริการส่วนตำบลบ้านค้อ ( หลังเก่า) หมู่ที่ ๓ ตาบลบ้านค้อ อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร เดิมใช้เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านค้อและเคยใช้เป็น อาคารแห่งนี้โดย กศน.ตำบลบ้านค้อ ได้รับความอนุเคราะห์สถานที่ดำเนินงานการจัดการเรียนการสอนจาก สถานีอนามัยบ้านค้อ หมู่ที่ ๑๑ ตำบลบ้านค้อ อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร อยู่ห่างที่ว่าการอำเภอคำชะอี ๑๒ กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดมุกดาหาร ๓๔ กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ ๑ งาน ก่อตั้งครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ในรูปแบบ กศน.ตำบลบ้านค้อ จนถึงปัจจุบันโดยนายรัศมี พยอม เป็นหัวหน้าครู กศน.ตำบล และครูศรช.นายอุทัย เมฆใสและครูประจำกลุ่ม นายสุนทร นิลม้าย รับผิดชอบใน ศรช.บ้านห้วยตาเปอะ ได้รับผิดชอบการจัดกระบวนการเรียนการสอนด้านการศึกษาพื้นฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ(ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน) การศึกษาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง งานภาคีเครือข่ายและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อการศึกษาตลอดชีวิตและงานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย ให้กับน้องประชาขนตำบลบ้านค้อ
ข้อมูลของ กศน.ตำบลบ้านค้อ
๒. ครู / บุคลากรทั้งสิ้น ๓ คน ประกอบด้วย
ครู กศน.ตำบล (หัวหน้า กศน.ตำบล ) จำนวน ๑ คน
ครู ศรช. จำนวน ๑ คน
ครูประจำกลุ่ม จำนวน ๑ คน
อาสาสมัคร กศน. จำนวน ๑๑ คน
อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน (อสอ.) จำนวน ๑๑ คน
อาสาสมัครบ้านหนังสืออัจฉริยะ จำนวน ๕ คน
วิทยากรวิชาชีพ จำนวน ๔ คน
ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนชื่อ การทอผ้าพื้นเมือง ผ้าฝ้ายผ้าไหม ผ้ามัดหมี่
๓.จำนวนนักศึกษาในภาคเรียนที่ ๑ / ๒๕๕๘
ระดับประถมศึกษา จำนวน คน
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน คน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน คน
รวมนักศึกษาทั้งสิ้น จำนวน คน
ทำเนียบคณะกรรมการพัฒนา กศน. ตำบล
ที่ |
ชื่อ - สกุล |
ตำแหน่ง |
หมายเหตุ |
๑ |
นายทองสง่า ผ่องแผ้ว |
ประธาน |
|
๒ |
นายล้วน ทะสา |
รองประธาน |
|
๓ |
นายสนอง มานิตย์ |
รองประธาน |
|
๔ |
นายเกรียงศักดิ์ คนคล่อง |
กรรมการ |
|
๕ |
นายเขตไทย คนกล้า |
กรรมการ |
|
๖ |
นายบุญเกิด คนหาญ |
กรรมการ |
|
๗ |
นางวาสนา คล่องดี |
กรรมการ |
|
๘ |
นางอบเชย รัตนวงค์ |
กรรมการ |
|
๙ |
นายทองพูน มีแก้ว |
กรรมการ |
|
๑๐ |
นายรุ่ง เทียนชัย |
กรรมการ |
|
๑๑ |
นายภูเบศร์ คนหาญ |
กรรมการ |
|
๑๒ |
นายอุ่น วงค์ฤทธิ์ |
กรรมการ |
|
๑๓ |
นายเนตร สุวรรณมงคล |
กรรมการ |
|
๑๔ |
นายสุรทิน สุวรรณมงคล |
กรรมการ |
|
๑๕ |
นายบุญตา พุทธจักร์ |
กรรมการ |
|
๑๖ |
นายโชครัก ป้องโล่ห์ |
กรรมการ |
|
๑๗ |
นายสมใจ ชมภู |
กรรมการ |
|
๑๘ |
นายชม คนกล้า |
กรรมการ |
|
๑๙ |
นายสุรชาติ คนหาญ |
กรรมการ |
|
๒๐ |
นายธงชัย โพธิ์ศรีขาม |
กรรมการ |
|
๒๑ |
นายเหลื่อน พลวงค์ |
ประชาสัมพันธ์ |
|
๒๒ |
นางจันทร์เพ็ญ คนคล่อง |
เหรัญญิก |
|
๒๓ |
นางสาวสายฝน ไชยขันธ์ |
ผู้ช่วยเหรัญญิก |
|
๒๔ |
นายรัศมี พยอม |
กรรมการและเลขานุการ |
|
ทำเนียบองค์กรนักศึกษา
ที่ |
ชื่อ - สกุล |
ตำแหน่ง / หน้าที่ |
หมายเหตุ |
๑ |
นายเหลื่อน พลวงค์ |
ประธาน |
|
๒ |
นายชมเชย คนคล่อง |
รองประธาน |
|
๓ |
นางวรรณศรี บุญประเสริฐ |
รองประธาน |
|
๔ |
นางสาวอำนวย คนตรง |
เลขานุการ |
|
๕ |
นายสายใจ คนหาญ |
ผู้ช่วยเลขานุการ |
|
๖ |
นางวาสนา คล่องดี |
ประชาสัมพันธ์ |
|
๗ |
นางรุ่งนภา คนกล้า |
ผู้ช่วยประชาสัมพันธ์ |
|
๘ |
นายยศพันธ์ จันทร์ไทย |
เหรัญญิก |
|
๙ |
นายสุภี คล่องดี |
ผู้ช่วยเหรัญญิก |
|
๑๐ |
นางบัวลอย คนหาญ |
กรรมการ |
|
๑๑ |
นายทวีศักดิ์ ใจมั่น |
กรรมการ |
|
๑๒ |
นางนารี คนคล่อง |
กรรมการ |
|
ทำเนียบอาสาสมัครบ้านหนังสืออัจฉริยะ กศน.ตำบลบ้านค้อ
ที่ |
ชื่อ - นามสกุล |
ประจำหมู่บ้าน |
ที่อยู่ |
๑ |
นายอานนท์ คนคล่อง |
บ้านโคก ๒ |
๕ ม.๑ บ้านโคก |
๒ |
นางกาบแก้ว ธรรมวัฒน์ |
บ้านค้อ |
๑๙๒ ม.๒ บ้านค้อ |
๓ |
นายบุญตา พุทธจักร์ |
ดงยาง |
๑๔๕ ม. ๔ ดงยาง |
๔ |
นางวาสนา คล่องดี |
บ้านแข้ |
ร้านค้าชุมชนบ้านแข้ |
๕ |
นายสายใจ คนหาญ |
บ้านค้อ |
๑๒๓ ม.๑๑บ้านค้อ |
ทำเนียบวิทยากรวิชาชีพ
ที่ |
ชื่อ - นามสกุล |
ระดับการศึกษา |
สอนวิชา |
๑ |
นางปัญญา ใจมั่น |
ป.๔ |
นางวาสนา คล่องดี |
๒ |
นายบุญตา พุทธจักร์ |
ม.ปลาย |
การเพาะเห็ดนางฟ้า |
๓ |
นางเลิ้ง คนหาญ |
ป.๔ |
การทอผ้าผ้ายและผ้าไหม |
๔ |
นางวาสนา คล่องดี |
ม. ปลาย |
การทอเสื่อกก |
ทำเนียบคณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
ที่ |
ชื่อ - สกุล |
ตำแหน่ง / หน้าที่ |
หมายเหตุ |
๑ |
นายทองสง่า ผ่องแผ้ว |
ประธาน |
|
๒ |
นายเกรียงศักดิ์ คนคล่อง |
กรรมการ |
|
๓ |
นายวุฒิพงษ์ เสียงล้ำ |
กรรมการ |
|
๔ |
นางเลิ้ง คนหาญ |
กรรมการ |
|
๕ |
นางอำพร คนคล่อง |
กรรมการ |
|
๖ |
นางสาวฐิติมา คำมงคุณ |
กรรมการ |
|
๗ |
นายไพเราะ คนซื่อ |
กรรมการ |
|
๘ |
นายวีรยุทธ สุวรรณศรี |
กรรมการ |
|
๙ |
นายรัศมี พยอม |
กรรมการและเลขานุกร |
|
ทำเนียบศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยและการเลือกตั้งตำบลบ้านค้อ
ที่ |
ชื่อ - สกุล |
ตำแหน่ง / หน้าที่ |
หมายเหตุ |
๑ |
นายล้วน ทะสา |
ประธาน |
|
๒ |
นายชาญชัย สมตระกูล |
รองประธาน |
|
๓ |
นายวุฒิพงษ์ เสียงล้ำ |
กรรมการ |
|
๔ |
นายเขตไทย คนกล้า |
กรรมการ |
|
๕ |
นายเหลื่อน พลวงค์ |
กรรมการ |
|
๖ |
นายปรีชา แก้วหาวงค์ |
กรรมการ |
|
๗ |
นายสายใจ คนหาญ |
กรรมการ |
|
๘ |
นายรัศมี พยอม |
กรรมการและเลขานุการ |
|
๙ |
นายอุทัย เมฆใส |
กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ |
|
รายชื่อบุคคล/ หน่วยงานความร่วมมือและสนับสนุนในระดับตำบล
หัวหน้า กศน.ตำบล นายรัศมี พยอม
ครู ศรช. นายอุทัย เมฆใส
พัฒนาการอำเภอ นางสุปราณี แสงเดือน
นายก อบต. ตำบล นายจีระศักดิ์ คนกล้า
ปลัดตำบล นายเอกพล คนกล้า
กำนัน นายเกรียงศักดิ์ คนกล้า